6.5 ตัวดำเนินการที่ใช้กับพอยน์เตอร์ (pointer operator)
6.5.1 ตัวดำเนินการ * (asterisk)
บางครั้งเรียกว่า เครื่องหมายดอกจัน เป็นเครื่องหมายที่ใช้บ่งบอกถึงค่าข้อมูลที่พอยน์เตอร์ชี้อยู่
เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ตัวดำเนินการ * กับพอยน์เตอร์มากยิ่งขึ้น ให้ศึกษาโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.1 ดังต่อไปนี้
6.5.1 ตัวดำเนินการ * (asterisk)
บางครั้งเรียกว่า เครื่องหมายดอกจัน เป็นเครื่องหมายที่ใช้บ่งบอกถึงค่าข้อมูลที่พอยน์เตอร์ชี้อยู่
เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ตัวดำเนินการ * กับพอยน์เตอร์มากยิ่งขึ้น ให้ศึกษาโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.1 ดังต่อไปนี้
โปรแกรมตัวอย่างที่ 6.1 แสดงการใช้ตัวดำเนินการ * เพื่อบอกถึงค่าข้อมูลที่พอยน์เตอร์ชี้อยู่
/* asterisk.c */ | ||||
ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คำอธิบายโปรแกรม
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.1 สามารถอธิบายการทำงานของโปรแกรมที่สำคัญ ๆ ได้ดังนี้
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.1 สามารถอธิบายการทำงานของโปรแกรมที่สำคัญ ๆ ได้ดังนี้
บรรทัดที่ 6 คำสั่ง int *pa, *pb; เป็นการประกาศตัวแปรพอยเตอร์ pa และ pb เป็นชนิด int
บรรทัดที่ 8 คำสั่ง pa = &a; เป็นการกำหนดค่า address แรกของ a ให้ตัวแปรพอยเตอร์ pa
บรรทัดที่ 9 คำสั่ง pb = &a; เป็นการกำหนดค่า address แรกของ b ให้ตัวแปรพอยเตอร์ pb
บรรทัดที่ 10 พิมพ์ค่าที่ตัวแปรพอยเตอร์ pa และ pb ชี้อยู่ แล้วออกจอภาพ นั่นคือชี้ค่าตัวแปร a และ b ตามลำดับ
บรรทัดที่ 11 และ 12 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับเข้าสู่โปรแกรม และหยุดรอรับค่าใด ๆ จากคีย์บอร์ด เช่น กด enter จะกลับเข้าสู่โปรแกรมตามลำดับ
6.5.2 ตัวดำเนินการ & (ampersand)
เป็นเครื่องหมายที่ใช้บ่งบอกถึงค่า address ของข้อมูล
เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ตัวดำเนินการ & กับพอยน์เตอร์มากยิ่งขึ้น ให้ศึกษาโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.2 ดังต่อไปนี้
เป็นเครื่องหมายที่ใช้บ่งบอกถึงค่า address ของข้อมูล
เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ตัวดำเนินการ & กับพอยน์เตอร์มากยิ่งขึ้น ให้ศึกษาโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.2 ดังต่อไปนี้
โปรแกรมตัวอย่างที่ 6.2 แสดงการใช้ตัวดำเนินการ & เพื่อบอกถึงค่า address ของข้อมูล
/* ampersan.c */ | ||||
ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คำอธิบายโปรแกรม
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.2 สามารถอธิบายการทำงานของโปรแกรมที่สำคัญ ๆ ได้ดังนี้
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.2 สามารถอธิบายการทำงานของโปรแกรมที่สำคัญ ๆ ได้ดังนี้
บรรทัดที่ 6 คำสั่ง int *pm,*pn; คำสั่งประกาศตัวแปรพอยน์เตอร์ pm และ pn เป็นชนิด int
บรรทัดที่ 8 คำสั่ง pm=&m; เป็นการกำหนดค่า address แรกของ m ให้ตัวแปรพอยน์เตอร์ pm
บรรทัดที่ 9 คำสั่ง pn=&n; เป็นการกำหนดค่า address แรกของ n ให้ตัวแปรพอยน์เตอร์ pn
บรรทัดที่ 10 พิมพ์ค่าตัวแปร m และ n แสดงที่จอภาพ
บรรทัดที่ 11 พิมพ์ค่าตัวแปรที่ตัวแปรพอยน์เตอร์ pm และ pn ชี้อยู่แสดงที่จอภาพ
บรรทัดที่ 12 พิมพ์ค่า address ของตัวแปร m และ n ที่ตัวแปรพอยน์เตอร์ pm และ pn ชี้อยู่ โดยใช้รหัสรูปแบบข้อมูลเป็น %p แสดงที่จอภาพ
บรรทัดที่ 13 และ 14 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับเข้าสู่โปรแกรม และหยุดรอรับค่าใด ๆ จากคีย์บอร์ด เช่น กด enter จะกลับเข้าสู่โปรแกรมตามลำดับ
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น